h1.post-title{ font-size:20px;}

วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2554

บัญชีอากรแสตมป์ อัตราอากรแสตมป์

บัญชีอัตราอากรแสตมป์





ลักษณะแห่งตราสาร


ค่าอากรแสตมป์


ผู้ที่ต้องเสียอากร


ผู้ที่ต้องขีดฆ่าแสตมป์


1. เช่าที่ดิน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นหรือแพ
        ทุกจำนวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของเงิน 1,000 บาท แห่งค่าเช่าหรือเงินกินเปล่า หรือทั้งสองอย่างรวมกันตลอดอายุการเช่า
         หมายเหตุ
          (1) ถ้าสัญญาเช่ามิได้กำหนดอายุการเช่าให้ถือว่ามีกำหนด 3 ปี
          (2) ถ้าสัญญาเช่าฉบับใดครบกำหนดอายุการเช่า
หรือครบกำหนด 3 ปี ตาม (1) แล้วผู้เช่ายังคงครองทรัพย์สินอยู่และให้ผู้เช่ารู้ความนั้นแล้วไม่ทักท้วง ทั้งมิได้ทำสัญญาใหม่ ให้ถือว่าสัญญาเช่าเดิมนั้นได้เริ่มทำกันใหม่ โดยไม่มีกำหนดอายุการเช่า และต้องเสียอากรภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ถือว่าเริ่มทำสัญญาใหม่นั้น
          ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          เช่าทรัพย์สินใช้ในการทำนา ไร่ สวน




1 บาท










ผู้ให้เช่า










ผู้เช่า







  2. โอนใบหุ้น ใบหุ้นกู้ พันธบัตรและใบรับรองหนี้ ซึ่งบริษัท สมาคม คณะบุคคลหรือองค์การใด
ๆ เป็นผู้ออก
          คิดตามราคาหุ้นที่ชำระแล้วหรือตามราคาในตราสารแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า ทุกจำนวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของ 1,000 บาท
          ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          ก. โอนพันธบัตรของรัฐบาลไทย
          ข. โอนใบหุ้น ใบหุ้นกู้ และใบรับรองหนี้ซึ่งสหกรณ์
หรือธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเป็นผู้ออก




1 บาท





ผู้โอน





ผู้รับโอน

  3. เช่าซื้อทรัพย์สิน
        ทุกจำนวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของเงิน 1,000 บาท แห่งราคาทั้งหมด
        ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
        เช่าซื้อทรัพย์สินใช้ในการทำนา ไร่ สวน


1 บาท



ผู้ให้เช่า



ผู้เช่า

  4. จ้างทำของ           
   ทุกจำนวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของ 1,000 บาท แห่งสินจ้างที่กำหนดไว้
           หมายเหตุ
          (1) ถ้าในเวลากระทำสัญญาจ้างทำของไม่ทราบจำนวนสินจ้างว่าเป็นราคาใด ให้ประมาณจำนวนสินจ้างตามสมควรแล้วเสียอากรตามจำนวนสินจ้างที่ประมาณนั้น
          (2) ถ้ามีการรับเงินสินจ้างเป็นคราว ๆ และอากรที่เสียไว้เดิมยังไม่ครบ ให้เสียอากรเพิ่มเติมให้ครบตามจำนวนที่ต้องเสียทุกครั้งในทันทีที่มีการรับเงิน
          (3) เมื่อการรับจ้างทำของได้สิ้นสุดลงแล้ว และปรากฏว่าได้เสียอากรเกินไป ให้ขอคืนตามมาตรา 122 ได้
             ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
        สัญญาที่ทำขึ้นนอกประเทศไทยและการปฏิบัติตามข้อสัญญานั้นมิได้ทำในประเทศไทย


1 บาท












ผู้รับจ้าง












ผู้รับจ้าง











  5. กู้ยืมเงิน หรือการตกลงให้เบิกเงินเกินบัญชีจากธนาคาร
        ทุกจำนวนเงิน 2,000 บาท หรือเศษของเงิน
2,000 บาท แห่งยอดเงินที่กู้ยืมหรือตกลงให้เบิกเกินบัญชี            
ค่าอากรตามลักษณะแห่งตราสารนี้ เมื่อคำนวณแล้วถ้าเกิน 10,000 บาท ให้เสีย 10,000 บาท
          ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          การกู้ยืมเงินซึ่งสมาชิกกู้ยืมจากสหกรณ์หรือสหกรณ์กู้ยืมจากสหกรณ์ หรือจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 14) พ.ศ.2529 ใช้บังคับ 1 ก.พ.2529 เป็นต้นไป)

1 บาท



ผู้ให้กู้


ผู้กู้

6. กรมธรรม์ประกันภัย
          (ก) กรมธรรม์ประกันวินาศภัย
          ทุก 250 บาท หรือเศษของ 250 บาท แห่งเบี้ยประกันภัย

          (ข) กรมธรรม์ประกันชีวิต
          ทุก 2,000 บาท หรือเศษของ 2,000 บาท
แห่งจำนวนเงินที่เอาประกันภัย(ประกาศคณะปฎิวัติ (ฉบับที่ 155) ใช้บังคับ 7 มิ.ย.2515 เป็นตันไป ข้อ 7 กำหนดให้ค่าอากรแสตมป์สำหรับตราสารกรมธรรม์ประกันชีวิต ถ้ามีจำนวนสูงกว่า 20 บาท ให้ลดเหลือ 20 บาท)
          (ค) กรมธรรม์ประกันภัยอื่น
          ทุก 2,000 บาท หรือเศษของ 2,000 บาท แห่งจำนวนเงินที่เอาประกัน
          (ง) กรมธรรม์เงินปี
          ทุก 2,000 บาท หรือเศษของ
2,000 บาง แห่งต้นทุนเงินปีนั้น หรือถ้าไม่ปรากฏต้นทุนให้คิดทุก 2,000 บาท หรือเศษของ 2,000 บาท แห่ง 33 1/3 เท่าของรายได้ประจำปี
          (จ) กรมธรรม์ประกันภัยซึ่งผู้รับประกันภัยนำไปให้ผู้อื่นประกันอีกต่อหนึ่ง

          (ฉ) บันทึกการต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัยเดิม

          ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          (ก) การประกันภัยสัตว์พาหนะซึ่งใช้ในการเกษตรกรรม
          (ข) บันทึกประกันภัยหรือกรมธรรม์ประกันภัยชั่วคราวซึ่งรับรองจะออกกรมธรรม์ประกันภัยต้วจริง
แต่ถ้าผู้ทรงจะเรียกร้องเอาสิทธิอย่างอื่น นอกจากให้ส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยตัวจริงแล้วต้องปิดแสตมป์เสียก่อน
เช่นเดียวกับที่จะต้องปิดสำหรับประกันภัยตัวจริง
(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2525 ใช้บังคับ 27 ก.พ.2525 เป็นต้นไป)


1 บาท


 1 บาท


1 บาท



1 บาท


 
 1 บาท

กึ่งอัตราซึ่งเรียกเก็บสำหรับกรมธรรม์เดิม




ผู้รับประกันภัย
ผู้รับประกันภัย
ผู้รับประกันภัย
ผู้รับประกันภัย
ผู้รับประกันภัย
ผู้รับประกันภัย







ผู้รับประกันภัย

  
ผู้รับประกันภัย



ผู้รับประกันภัย


ผู้รับประกันภัย
  
ผู้รับประกันภัย


ผู้รับประกันภัย






7. ใบมอบอำนาจ คือ ใบตั้งตัวแทนซึ่งมิได้กระทำในรูปลักษณะตราสารสัญญารวมทั้งใบตั้งอนุญาตโตตุลาการ
(ก) มอบอำนาจให้บุคคลคนเดียวหรือหลายคนกระทำการครั้งเดียว
(ข) มอบอำนาจให้บุคคลคนเดียวหรือหลายคนร่วมทำการมากกว่าครั้งเดียว
(ค) มอบอำนาจให้ทำการมากกว่าครั้งเดียว โดยให้บุคคลหลายคนต่างคน ต่างกระทำกิจการแยกกันได้ คิดตามรายตัวบุคคลที่รับมอบคนละ
หมายเหตุ
   ถ้าผู้มอบอำนาจมีหลายคนแต่มิได้เป็นผู้มีอำนาจร่วมกันแล้ว
มอบอำนาจในตราสารฉบับเดียวกัน ต้องคิดตามรายตัวบุคคลผู้มอบ
คนหนึ่งเป็นเรื่องหนึ่งตามมาตรา ๑๐๘
ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
(๑) ใบแต่งทนายและใบมอบอำนาจซึ่งทนายความให้แก่เสมียนของตน เพื่อเป็นตัวแทนดำเนินคดีในศาล
(๒) ใบมอบอำนาจให้โอน หรือให้กระทำการใด ๆ เกี่ยวด้วยสัตว์พาหนะ ตามกฎหมายว่าด้วยสัตว์พาหนะ
(๓) ใบมอบอำนาจให้รับเงินหรือสิ่งของแทน
(๔) ใบมอบอำนาจซึ่งสหกรณ์เป็นผู้มอบและใบมอบอำนาจตั้งสหกรณ์เป็น ตัวแทนจัดการให้สหกรณ์ได้รับสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ 



10 บาท
 30 บาท
 30 บาท












ผู้มอบอำนาจ
ผู้มอบอำนาจ
ผู้มอบอำนาจ








ผู้มอบอำนาจ
 ผู้มอบอำนาจ
 ผู้มอบอำนาจ






  8. ใบมอบฉันทะสำหรับให้ลงมติในที่ประชุมของบริษัท
          (ก) มอบฉันทะสำหรับการประชุมครั้งเดียว
          (ข) มอบฉันทะสำหรับการประชุมกว่าครั้งเดียว
(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)


20 บาท
100 บาท









ผู้มอบฉันทะ
ผู้มอบฉันทะ









ผู้มอบฉันทะ
ผู้มอบฉันทะ






9. (1) ตั๋วแลกเงินหรือตราสารทำนองเดียวกับที่ใช้อย่างตั๋วแลกเงิน ฉบับละ
      (2) ตั๋วสัญญาใช้เงินหรือตราสารทำนองเดียวกับที่ใช้อย่างตั๋วสัญญาใช้เงิน ฉบับละ
           ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          ถ้าตั๋วออกเป็นสำรับและฉบับแรกในสำรับนั้นปิดแสตมป์บริบูรณ์แล้ว ฉบับอื่น ๆ ไม่ต้องปิดอีก แต่ตัองสลักหลังฉบับนั้น ๆ ไว้ว่า ได้เสียอากรแล้ว (พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)
3 บาท
3 บาท







ผู้สั่งจ่าย
ผู้ออกตั๋ว






ผู้สั่งจ่าย
ผู้ออกตั๋ว





10. บิลออฟเลดิง
          หมายเหตุ
          ถ้าออกเป็นสำรับให้ปิดแสตมป์ตามอัตราทุกฉบับ


2 บาท


ผู้กระทำตราสาร


ผู้กระทำตราสาร


11. (1) ใบหุ้น หรือใบหุ้นกู้ หรือใบรับรองหนี้ของบริษัท สมาคม คณะบุคคล หรือองค์การใด ๆ
(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)
      (2) พันธบัตรของรัฐบาลใด ๆ ที่ขายในประเทศไทย
         ทุกจำนวนเงิน 100 บาท
หรือเศษของ 100 บาท
         ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          ใบหุ้น ใบหุ้นกู้ หรือใบรับรองหนี้ของสหกรณ์


 5 บาท
1 บาท






ผู้ทรงตราสาร

ผู้ทรงตราสาร






 
ผู้ทรงตราสาร
ผู้ทรงตราสาร


 12. เช็ค หรือหนังสือคำสั่งใด ๆ ซึ่งใช้แทนเช็ค   ฉบับละ
(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)

3 บาท




ผู้สั่งจ่าย




ผู้สั่งจ่าย



13. ใบรับฝากเงินประเภทประจำของธนาคารโดยมีดอกเบี้ย
(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)

5 บาท




ผู้รับฝาก




ผู้รับฝาก



14. เลตเตอร์ออฟเครดิต
 (ก) ออกในประเทศ
        - เงินต่ำกว่า 10,000 บาท
        - เงินตั้งแต่ 10,000 บาท ขึ้นไป
 (ข) ออกในต่างประเทศและให้ชำระเงินในประเทศไทย
       คราวละ              
หมายเหตุ
          ตราสารเลตเตอร์ออฟเครดิตที่ออกในประเทศไทย
และให้ชำระเงินในต่างประเทศ ต้องทำสำเนาเก็บไว้ในประเทศไทย ส่วนการเสียอากรให้ปิดแสตมป์บริบูรณ์เฉพาะในฉบับสำเนาดังกล่าวนั้น

(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)



20 บาท30 บาท20 บาท








  ผู้ออกตราสาร
ผู้ออกตราสาร
ผู้ทรงคนแรกในประเทศไทย









        ผู้ออกตราสาร
ผู้ออกตราสาร
ผู้ทรงคนแรกในประเทศไทย









15. เช็คสำหรับผู้เดินทาง
 (ก) ออกในประเทศ ฉบับละ
 (ข) ออกในต่างประเทศ แต่ให้ชำระในประเทศไทย ฉบับละ
(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)



3 บาท
3 บาท






 
ผู้ออกเช็ค
ผู้ทรงคนแรก
ในประเทศไทย






 
ผู้ออกเช็ค
ผู้ทรงคนแรก
ในประเทศไทย



1 6. ใบรับของ ซึ่งออกให้เนื่องในกิจการรับขนสินค้าโดยทางน้ำ ทางบก และทางอากาศ คือตราสารซึ่งลงลายมือชื่อพนักงานหรือนายสินค้าของยานพาหนะรับขนส่ง ซึ่งออกรับของดังระบุไว้ในใบรับนั้น เมื่อไม่ได้ออกบิลออฟเลดิง ฉบับละ
           หมายเหตุ
          ถ้าออกเป็นสำรับให้ปิดแสตมป์ตามอัตราทุกฉบับ

(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2525 ใช้บังคับ 27 ก.พ.2525 เป็นต้นไป)

1 บาท






 ผู้ออกใบรับ






ผู้ออกใบรับ






17. ค้ำประกัน
 (ก) สำหรับกรณีที่มิได้จำกัดจำนวนเงินไว้
 (ข) สำหรับจำนวนเงินไม่เกิน 1,000 บาท
 (ค) สำหรับจำนวนเงินเกิน 1,000 บาท แต่ไม่เกิน 10,000 บาท
 (ง) สำหรับจำนวนเงินเกิน 10,000 บาท ขึ้นไป
                 ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          (ก) ค้ำประกันหนี้เนื่องแต่การที่รัฐบาลให้ราษฎรกู้ยืมหรือยืมเพื่อการบริโภคหรือการเกษตรกรรม
          (ข) ค้ำประกันหนี้เนื่องแต่การที่สหกรณ์ให้สมาชิกกู้ยืมหรือยืม (พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)



10 บาท1 บาท5 บาท10 บาท











 ผู้ค้ำประกันผู้ค้ำประกันผู้ค้ำประกันผู้ค้ำประกัน











ผู้ค้ำประกันผู้ค้ำประกันผู้ค้ำประกันผู้ค้ำประกัน


 




18. จำนำ
       - จำนวนหนี้ทุก 2,000 บาท หรือเศษของ 2,000 บาท
         - ถ้าการจำนำมิได้จำกัดจำนวนหนี้ไว้
               
ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          (ก) ตั๋วจำนำของโรงรับจำนำที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
          (ข) จำนำอันเกี่ยวกับกู้ยืมซึ่งได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์แล้วตามข้อ 5
1 บาท1 บาท





ผู้รับจำนำผู้รับจำนำ





ผู้รับจำนำผู้รับจำนำ





   19. ใบรับของคลังสินค้า

1 บาท


นายคลังสินค้า


นายคลังสินค้า

   20. คำสั่งให้ส่งมอบของ คือ ตราสารซึ่งบุคคลผู้ปรากฏชื่อในตราสารนั้น หรือซึ่งบุคคลผู้นั้นตราชื่อไว้ หรือ ผู้ทรงมีสิทธิที่จะรับมอบสินค้าอันอยู่ในอู่ หรือเมืองท่า หรือคลังสินค้าซึ่งรับเก็บหรือรับฝากโดยเรียกเก็บค่าเช่าหรือรับสินค้าอัน อยู่ที่ท่าสินค้าโดยที่เจ้าของลงลายมือชื่อ หรือมีผู้อื่นลงลายมือชื่อแทนในเมื่อขายหรือโอนทรัพย์สินอันปรากฎในตราสารนั้น (พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ.2525 ใช้บังคับ 27 ก.พ.2525 เป็นต้นไป)






1 บาท













ผู้ออกคำสั่ง













ผู้ออกคำสั่ง





21. ตัวแทน
       (ก) มอบอำนาจเฉพาะการ
         (ข) มอบอำนาจทั่วไป   
   
          ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          การตั้งตัวแทนในกรณีสหกรณ์เป็นตัวการ

(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)
10 บาท30 บาท








ตัวการตัวการ






 ตัวการ
ตัวการ




22. คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
         (ก) ในกรณีซึ่งพิพาทกันด้วยจำนวนเงินหรือราคาทุกจำนวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของ 1,000 บาท
          (ข) ในกรณีอื่นซึ่งไม่กล่าวถึงจำนวนเงินหรือราคา
(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2525 ใช้บังคับ 27 ก.พ.2525 เป็นต้นไป)
1 บาท
10 บาท
อนุญาโตตุลาการ
อนุญาโตตุลาการ
23. คู่ฉบับหรือคู่ฉีกแห่งตราสาร
         คือ ตราสารซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับต้นฉบับ
หรือต้นสัญญาและผู้กระทำตราสารได้ลงลายมือชื่อไว้ อย่างเดียวกับต้นฉบับ
           (ก) ถ้าต้นฉบับเสียอากรไม่เกิน 5 บาท
           (ข) ถ้าเกิน 5 บาท
            ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
          ถ้าฝ่ายที่ต้องเสียอากรเป็นสหกรณ์
(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)



1 บาท5 บาท








(1) ถ้าไม่มีบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สัญญาคนที่เสียอากรสำหรับต้นฉบับเป็นผู้เสีย
(2) ถ้ามีบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สัญญาบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งนั้นต้องเป็นผู้เสียอากร



คนเดียวกับผู้ขีดฆ่า
ต้นฉบับ



24. หนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทจำกัดที่ส่งต่อนายทะเบียน

200 บาท


ผู้เริ่มก่อการ


ผู้เริ่มก่อการ

 25. ข้อบังคับของบริษัทจำกัดที่ส่งต่อนายทะเบียน

200 บาท


กรรมการ


กรรมการ

26. ข้อบังคับใหม่หรือสำเนาหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับของบริษัทจำกัดซึ่งเปลี่ยนแปลงใหม่ที่ส่งต่อนายทะเบียน

50 บาท
กรรมการ
กรรมการ
27. หนังสือสัญญาห้างหุ้นส่วน

           (ก) หนังสือสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
           (ข) หนังสือสัญญาที่แก้ไขสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วน

(พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2526 ใช้บังคับ 29 พ.ย.2526 เป็นต้นไป)
 
100 บาท
50 บาท







ผู้เป็นหุ้นส่วนผู้เป็นหุ้นส่วน





 
ผู้เป็นหุ้นส่วน
ผู้เป็นหุ้นส่วน 





 28. ใบรับ เฉพาะตามที่ระบุต่อไปนี้
           (ก) ใบรับรางวัลสลากกินแบ่งของรัฐบาล
           (ข) ใบรับสำหรับการโอนหรือก่อตั้งสิทธิใด
ๆ เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ในเมื่อนิติกรรมที่เป็นเหตุให้ออกใบรับนั้นมีการจดทะเบียนตามกฎหมาย (ดูประกาศอธิบดี
เกี่ยวกับอากรแสตมป์ (ฉบับที่ 21)) (ดูคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 27/2537)
           (ค) ใบรับสำหรับการขาย ขายฝาก ให้เช่าซื้อ หรือโอนกรรมสิทธิ์ยานพาหนะ ทั้งนี้เฉพาะยางพาหนะซึ่งมีการจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยยานพาหนะนั้น
          ถ้าใบรับตาม (ก)(ข) หรือ (ค) มีจำนวนเงินตั้งแต่ 200 บาท ขึ้นไปทุก 200 บาทหรือเศษของ 200 บาท (พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ.2525
ใช้บังคับ 27 ก.พ.2525 เป็นต้นไป)
         ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
         ใบรับ สำหรับจำนวนเงินที่ผู้รับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีธุรกิจเฉพาะ(พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 30) พ.ศ.2534 ใช้บังคับ 1 ม.ค.2535 เป็นต้นไป) 




1 บาท





ผู้ออกใบรับ





ผู้ออกใบรับ  

 (ยกเลิกโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 14) พ.ศ.2529
ใช้บังคับ 1 ก.พ.2529 เป็นต้นไป)
 
 
 

( ดูพระราชกฤษฎีกา
(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2500 มาตรา 6(11) ค่าอากรแสตมป์ที่มีจำนวนไม่ถึง 1 บาทหรือเศษของบาท
ได้รับการยกเว้นอากร )

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น