โดยทั่วไปผู้มีเงินได้ต้องนำเงินได้พึงประเมินทุกประเภทของตน ตลอดปีภาษี (ไม่รวมเงินได้ที่กฎหมายยกเว้นภาษี หรือที่ไม่ต้องเสียภาษี) ไปคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี เพื่อยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีภายในเดือนมีนาคมของปีถัดจากปีที่มีเงินได้ การคำนวณภาษีให้ทำเป็น 3 ขั้น คือ
ขั้นที่สอง ให้พิจารณาว่าจะต้องคำนวณภาษีตาม วิธีที่ 2 หรือไม่ ถ้าเข้าเงื่อนไขที่จะต้องคำนวณภาษีตามวิธีที่ 2 จึงคำนวณภาษีตามวิธีที่ 2 อีกวิธีหนึ่ง
การคำนวณภาษี
|
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เงินได้สุทธิ | ช่วงเงินได้สุทธิ แต่ละขั้น | อัตราภาษี ร้อยละ | ภาษีแต่ละขั้น เงินได้สุทธิ | ภาษีสะสม สูงสุดของขั้น |
1 - 150,000 | 150,000 | - | - | |
150,001 - 500,000 | 350,000 | 10 | 35,000 | 35,000 |
500,001 - 1,000,000 | 500,000 | 20 | 100,000 | 135,000 |
1,000,001 - 4,000,000 | 3,000,000 | 30 | 900,000 | 1,035,000 |
4,000,001 บาทขึ้นไป |
| 37 |
|
|
หมายเหตุ :- การ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้สุทธิเฉพาะส่วนไม่เกิน 150,000 บาท มีผลใช้บังคับสำหรับเงินได้สุทธิที่เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2551 เป็นต้นไป ( พระราชกฤษฎีกา ( ฉบับที่ 470 ) พ.ศ. 2551 )
หมายเหตุ ข้อมูลจากกรมสรรพากร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น