h1.post-title{ font-size:20px;}

วันเสาร์ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2554

การหักค่าลดหย่อน,อัตราภาษีเงินได้

ตารางสรุปรายการค่าลดหย่อนเพื่อการคำนวณภาษีเงินได้กลางปีและประจำปี
รายการค่าลดหย่อน
ภาษึเงินได้กลางปี
 
ภาษีเงินได้ประจำปี
 
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
 
1.ค่าลดหย่อนส่วนบุคคล
   1.1 ส่วนตัวผู้มีเงินได้
   1.2 คู่สมรส
   1.3 บุตรที่ไม่ได้ศึกษา หรือ
      ศึกษาในต่างประเทศ
   1.4 บุตรที่ศึกษาในไทย
   1.5 บิดา มารดา หรือ บิดา
          มารดาคู่สมรส
   1.6 ผู้มีอายุตั้งแต่65 ปีขึ้นไป
   1.7 เลี้ยงดูผู้พิการที่เป็นบิดา
         มารดา บุตร หรือ บุตร
         บุญธรรมของผู้มีเงินได้
       หรือคู่สมรส (กฎหมาย
       อยู่ระหว่างตรวจร่างฯ)


15,000 บาท
15,000 บาท
คนละ 7,500 บาท
(ไม่ว่าจะมีการแบ่งค่าลดหย่อนบุตร
ในการคำนวนภาษีประจำปีหรือไม่)
คนละ 8,500 บาท
คนละ 15,000 บาท
190,000 บาท
15,000 บาทต่อผู้พิการ 1 คน





30,000 บาท
30,000 บาท
คนละ 15,000 บาท

คนละ 17,000 บาท
คนละ 30,000 บาท
190,000 บาท
30,000บาท ต่อผู้พิการ1คน




หักค่าลดหย่อนสำหรับผู้เป็น
หุ้นส่วนต่ละคนที่อยู่ใน
ประเทศไทย แต่รวมกัน
ไม่เกิน 60,000 บาท สำหรับ
เงินได้กลางปีไม่เกิน
 30,000 บาท
ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน




2. ค่าลดหย่อนเบี้ยประกัน
2.1 เบี้ยประกันชีวิต
2.1.1. สำหรับผู้มีเงินได้
2.1.2. คู่สมรส
                       -มีเงินได้
                       -ไม่มีเงินได้
2.2 เบี้ยประกันสุขภาพ
     สำหรับพ่อแม่
2.2.1 สำหรับผู้มีเงินได้
2.2.2 คู่สมรส
                  -  มีเงินได้
                 -ไม่มีเงินได้



เท่าที่จ่ายจริง ระหว่าง มค.- มิย.
แต่ไม่เกิน 50,000 บาท
เท่าที่จ่ายจริงระหว่าง มค.- มิย.
แต่ไม่เกิน 50,000 บาท
เท่าที่จ่ายจริงระหว่าง มค. - มิย.
แต่ไม่เกิน 5,000 บาท

เท่าที่จ่ายจริงระหว่าง มค.- มิย.
แต่ไม่เกิน 7,500 บาท
เท่าที่จ่ายจริงระหว่าง มค.- มิย.
แต่ไม่เกิน 7,500 บาท
ไม่มีสทธิหักค่าลดหย่อน
(ดูกฎกระทรวง ฉบับัที่ 126 ข้อ 2 (76)

เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน
100,000 บาท
เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน
100,000 บาท
เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน
10,000 บาท

เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน
15,000 บาท
เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน
15,000 บาท
ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน



ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน

ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน


ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน

ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน



3. ค่าลดหย่อนเงินสะสมที่จ่าย
    เข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
   3.1 สำหรับผู้มีเงินได้

        3.2  คู่สมรส


หักไม่ได้เพราะเป็นค่าลดหย่อนสำหรับ
เงินได้ตาม ม.40 (1) ซึ่งคำนวน
ภาษีเงินได้ประจำปีเท่านั้น
เช่นเดียวกับผู้มีเงินได้


เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน
10,000 บาท
(ยกเว้นเงินได้อีกไม่เกิน
490,000 บาท )
เช่นเดียวกับผู้มีงินได้


ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน



4. ค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุน
     รวมเพื่อการเลี้ยงชีพ



เท่าที่จ่ายจริงระหว่าง มค.- มิย.
เมื่อรวมกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
หรือกองทุน กบข.แล้วไม่เกิน
500,000 บาท
 
เท่าที่จ่ายจริงเมื่อรวมกับ
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
หรือ กองทุน กบข.แล้ว
ไม่เกิน 500,000 บาท
 
ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน


5. ค่าลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกู้ยืม
   เพื่อการมีที่อยู่อาศัย
   5.1  ผู้มีเงินได้กู้ยืมคนเดียว
   5.2  ผู้มีเงินได้หลายคน
         ร่วมกันกู้ยืม

(ต้องดูเงื่อนไขของกฎกระทรวง
ฉบับที่ 226/2543 ลง ร.จ 13 ต.ค 43)
เท่าที่จ่ายจริงระหว่าง มค.- มิย.
แต่ไม่เกิน  50,000 บาท
คนละครึ่งหนึ่งของส่วนเฉลี่ยดอกเบี้ย
ตามจำนวนผู้กู้ที่จ่ายจริงระหว่าง มค.
ถึง มิย. แต่ไม่เกิน  50,000 บาท
 
เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน
100,000 บาท
คนละตามส่วนเฉลี่ยดอก
เบี้ยตามจำนวนผู้กู้แต่รวม
กันไม่เกิน  100,000 บาท


ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน



6. ค่าลดหย่อนเงินสมทบที่จ่าย
   เข้ากองทุนประกันสังคม
   6.1 สำหรับผู้มีเงินได้

   6.2 คู่สมรส





หักไม่ได้เพราะเป็นค่าลดหย่อนสำหรับ
เงินได้ตาม ม.40(1) ซึ่งคำนวนภาษี
เงินได้ประจำปีเท่านั้น
เช่นเดียวกับผู้มีเงินได้


เท่าที่จ่ายจริง

เช่นเดียวกับผู้มีงินได้


ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน


7. ค่าลดหย่อนเงินบริจาค




ที่จ่ายจริง ระหว่าง มค.- มิย. แต่ไม่เกิน
10% ของเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย
และค่าลดหย่อนรายการอื่นแล้ว

เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน
 10% ของเงินได้หลังจาก
หักค่าใช้จ่ายและค่าลด
หย่อนรายการอื่นแล้ว
 
เหมือนกับบุคคลธรรมดา


8.ค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุน
   รวมหุ้นระยะยาว


ที่จ่ายจริง ระหว่าง มค.- มิย.แต่ไม่เกิน
500,000 บาท

เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน
 15% ของเงินได้และ
500,000 บาท
 
ไม่มีสิทธิหักค่าลดหย่อน


9.รายจ่ายสนับสนุนโครงการ
   การศึกษาที่กระทรวงศึกษา-
   ธิการ ให้ความเห็นชอบ


หักได้ 2 เท่า ของจำนวนที่จ่ายจริง
ระหว่าง มค.- มิ.ย.แต่ไม่เกินร้อยละ
10ของเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายและค่า
ลดหย่อน
 
หักได้2เท่าแต่ไม่เกินร้อย
ละ 10 ของเงินได้หลังหัก
ค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน

-
10.รายจ่ายเพื่อสนับสนุน
     การกีฬา


หักได้ 1.5 เท่า ของที่จ่ายจริง ระหว่าง
ม.ค - มิ.ย แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 2
ของเงินได้สุทธิ
 
หักได้ 1.5 เท่าของที่จ่าย
จริงแต่ต้องไม่เกินร้อย
ละ 2 ของเงินได้สุทธิ
 
-

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น